วันพุธที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

Bergamot





รายงานการสื่อสารละการนำเสนอ
เรื่องการทำแชมพูจากมะกรูด
ของ
ชั้นมัธยมศึกกษาปีที่ 5/2
นาย วิศวกร แสงแดง
นาย วุฒิพงษ์ คุณพาที
นาย ณัฐพงษ์ ภูมิภาค
นาย วนาพร วงศ์พชร
นาย ธีรพัฒน์ นัตนเพชร

ครูที่รึกษา
คุณครู นารีรัตน์ แก้วประชุม

เสนอ
โรงเรียนโพธิ์ไทรพิทยาคาร
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาปีที่ 5/2
เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนรู้ ตามหลักสูตรโรงเรียนมาตารฐานสากล
ภาคเรียนที่1/2557












คำนำ
        รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจจะศึกษาเกี่ยวกับ เรื่องการทำแชมพูจากมะกรูด ซึ่งคณะผู้จัดทำขึ้นเพื่อให้นักเรียนและผู้ที่สนใจได้อ่านเป็นเอกสารเพิ่มเติมต่อไป
คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้สนใจเกี่ยวกับ ซึ่งจะทำให้ทราบถึง เนื้อหาหลักๆการทำแชมพูจากมะกรูดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ทีได้วิเคราะห์ให้ผู้อ่านนำมาใช้ประโยชน์ต่อไป หากมีข้อผิดพร่องประการใด ผู้จัดทำขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้ด้วย

                                                                                                                   คณะผู้จัดทำ
                                                                                                                         นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 5/2
3กันยายน 2557










กิตติกรรมประกาศ
รายงานฉบับนี้สำเร็จและสมบูรณ์เป็นรูปเล่มด้วยความกรุณาและเอาใจใส่เป็นอย่างดีจากคูณครู นารีรัตน์แก้วประชุม เป็นอย่างยิ่ง คุณครูประจำวิชา ที่ได้กรุณาให้คำปรึกษาและแนะแนวทาง
การดำเนินการทำรายงานในครั้งนี้โดยไม่มีข้อบกพร่อง รวมทั้งข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็นต่างๆตลอดทั้งการตรวจแก้ไขรายงานฉบับนี้ให้สำเร็จสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ทางคณะผู้จัดทำจึงขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้
ขอขอบพระคุณคุณครูทุกท่านที่ได้ประสิทธ์ประสาทวิชา ความรู้ และประสบการณ์ตลอดจนอำนวยความสำเร็จให้บังเกิด
                          สุดท้ายนี้ คุณพ่อ คุณแม่ ที่เป็นกำลังใจ และให้ความช่วยเหลือในการเก็บรวบรวมข้อมูลและให้คำแนะนำในการทำรายงานครั้งนี้ให้สำเร็จลุล่วงด้วยดีตลอดมา

คณะผู้จัดทำ
                                                                                                                 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2
       3 กันยายน 2557








ชื่อเรื่อง          การทำแชมพูจากมะกรูด
ผู้จัดทำ            1.นาย วิศวกร แสงแดง
                       2.นายวุฒิพงษ์ คุณพาที
                       3.นาย วนาพร วงศ์เพชร
                       4.นาย ธีรพัฒน์ รันเพชร
ครูที่ปรึกษา    ครูนารีรัตน์     แก้วประชุม
ชื่อวิชา           การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้
ชื่อโรงเรียน   โรงเรียนโพธิ์ไทรพิทยาคารปีการศึกษาที่ค้นคว้า2557

บทคัดย่อ
การศึกษาค้นคว้า เรื่องการทำแชมพูจากมะกรูด เพื่อศึกษาการทำแชมพูจากมะกรูด เพื่อศึกษาเกี่ยวกับอันตรายจากโรคหนังศีรษะ เพื่อศึกษาเกี่ยวกับมะกรูด
        ผลการศึกษาค้นคว้า ปรากฏว่า
                  1.ประโยชน์ของแชมพูมะกรูดมีดังนี้
                      1.1ช่วยให้เส้นผมมันวาว
                      1.2 ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการใช้แชมพู
                     1.3 ช่วยบรรเทาโรคหนังศีรษะ
                 2.จากการศึกษาเรื่องการทำแชมพูมะกรูด

            
     3.ผู้กรอกแบบสอบถามเห็นด้วยว่าแชมพูจากมะกรูดสามารถบรรเทาอาการจากโรคหนังศีรษะได้จริง     





























บทที่1
บทนำ
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
มะกรูด ภาษาอังกฤษ Kaffir lime, Leech lime, Mauritius papeda มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Citrus x hystrix L.และยังมีชื่อท้องถิ่นอื่นๆอีกเช่น มะขู (แม่ฮ่องสอน), มะขุน มะขูด (ภาคเหนือ), ส้มกรูด ส้มมั่วผี (ภาคใต้) เป็นต้น ซึ่งจัดอยู่ในตระกูล ส้ม (Citrus) โดยมีถิ่นกำเนิดในประเทศไทย ลาว มาเลเซีย และอินโดนีเซีย
หลายๆท่านคงคุ้นเคยกับมะกรูดเป็นอย่างดี เพราะเป็นสมุนไพรคู่ครัวไทมาอย่างยาวนาน เพราะนิยมใช้เป็นส่วนผสมในเครื่องแกงที่จำเป็นอย่างขาดไม่ได้เลย ซึ่งโดยปกติแล้วเรามักจะนิยมใช้ใบมะกรูดและผิวมะกรูดมาเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องปรุงอาหารหลายชนิด นอกจากมะกรูด จะใช้เป็นเครื่องประกอบในอาหารต่างๆแล้ว ก็ยังมีประโยชน์ในด้านอื่นๆอีกมากมายไม่ว่าจะเป็นในด้านของความงามและในด้านของยาสมุนไพร นอกจากนี้ยังถือว่าเป็นไม้มงคลที่นิยมปลูกไว้บริเวณบ้านอีกด้วย เพราะเชื่อว่าจะทำให้ผู้อยู่อาศัยมีความสุข โดยจะปลูกไว้ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ
สารเคมีที่สำคัญที่พบได้ในผลมะกรูดก็คือน้ำมันหอมระเหย ซึ่งมีทั้งในส่วนของเปลือกผลหรือผิวมะกรูด และในส่วนของใบ โดยเปลือกผลจะมีน้ำมันหอมระเหยประมาณ 4% และในส่วนของใบนั้นจะมีน้ำมันหอมระเหยอยู่ประมาณ 0.08% และยังสกัดยากกว่าน้ำมันในเปลือกผลอีกด้วย แต่ก็ยังมีจุดเด่นตรงที่น้ำมันจากใบจะมีกลิ่นมากกว่านั่นเอง จึงนิยมใช้ทั้งน้ำมันมะกรูดทั้งจากใบและเปลือกผล ซึ่งน้ำมันหอมระเหยนี้ก็สามารถนำใช้ประโยชน์ได้หลายอย่างและยังมีสรรพคุณเป็นยาอีกด้วย !
โรคของหนังศีรษะมีหลายชนิด ที่พบได้บ่อยคือ รังแคซึ่งเป็นขุยที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของ
ผิวหนังและเกิดการหลุดลอกขึ้น พบมากในวัยรุ่น โดยเชื่อว่าเป็นผลจากฮอร์โมนแอนโดรเจนที่มีส่วนส าคัญ
ในการกระตุ้นการท างานของต่อมไขมัน และเป็นสาเหตุของการเกิดรังแค ซึ่งจะมีอาการมากหรือน้อยขึ้นอยู่
กับแต่ละบุคคล และพบว่าถ้าไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้อง รังแคอาจรังควานคุณถึง 50 ปีก็ได้
การรักษาโรคนี้ที่ถูกต้องควรได้รับการตรวจจากแพทย์ทางโรคผิวหนังและส่วนใหญ่แพทย์จะ
แนะน าให้ใช้ยาสระผมที่มีส่วนผสมของน้ ามันดิน (coal tar) หรือสารซิงค์ไพริไทออน (Zinc pyrithone)
รวมทั้งซิลิเนียมซัลไฟด์ (selenium sulphide) หรือคีโตโคนาโซล (ketoconazole)
บางรายอาจพบอาการอักเสบของผิวหนังบริเวณที่มีไขมันมาก และมีผิวหนังบริเวณหนังศีรษะ
อักเสบ (seborrheic dermatitis) อาการที่พบคือ มีผื่นแดงบริเวณหนังศีรษะ ข้างจมูก คอ และขา บางรายมี
อาการผมมันผิดปกติ อาการเหล่านี้มีลักษณะอาการคล้ายๆ ผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงิน
ศ.ดร.นพ.ธัมม์ทิวัตถ์ นรารัตน์วันชัยแต่ในผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงินจะพบผิวหนังเป็นผื่นสีชมพูหรือแดง แต่ขอบเขตชัดเจนกว่า
จากความเป็นมาและความสำคัญดังกล่าวแล้ว ทำให้ผู้ศึกษาค้นคว้ามีความสนใจที่จะทำการศึกษา และทดลอง เรื่อง การทำแชมพูจากผลมะกรูด เพราะในผลมะกรูดมีสารเคมีที่ทำให้รักษาเส้นผมให้มันเงาและดำและยังสามารถบรรเทาโรคหนังศีรษะ ดังนั้นผู้ศึกษา จึงศึกษาและทดลองการทำแชมพูจากผลมะกรูด
วัตถุประสงค์ของปัญหา
      1.เพื่อศึกษาประโยชน์ของมะกรูด
      2.เพื่อศึกษาว่าผลมะกรูดสามารถทำแชมพูได้หรือไม่
      3. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับโรคหนังศีรษะ
สมมุติฐาน
       ผลมะกรูดมีกลิ่นหอมและสารเคมีที่สำคัญในมะกรูดคือน้ำหอมระเหยที่ช่วยทำให้สีผมดำเป็นธรรมชาติและทำให้เส้นผมมันวาว ดังนั้น ผลมะกรูดสามารถทำแชมพูได้จริง
ขอบเขตของปัญหา
    เนื้อหา  
           -ประวัติความเป็นมาของผลมะกรูด
           -ประโยชน์ของมะกรูด
           -อันตรายจากโรคหนังศรีษะ
           -วิธีการทำแชมพูจากมะกรูด

    ระยะเวลา
          -ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557
ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าและทดลอง
           -ตัวแปรต้น คือ การทำแชมพูจากผลมะกรูดในการรักษาเส้นผมให้มันวาวดำ และ ใช้ในการบรรเทาโรคหนังศีรษะ
          -ตัวแปรตาม คือ การลดค่าใช้จ่ายในการซื้อแชมพู และการรักษาโรคหนังศีรษะ








นิยามศัพท์เฉพาะ
          มะกรูด คือ เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก เป็นไม้เนื้อแข็ง ลำต้นและกิ่งมีหนามยาวเล็กน้อย ใบเป็นใบประกอบชนิดลดรูป มีใบย่อย 1 ใบ เรียงสลับ รูปไข่ คือมีลักษณะคล้ายกับใบไม้ 2 ใบ ต่อกันอยู่ คอดกิ่วที่กลางใบเป็นตอนๆ มีก้านแผ่ออกใหญ่เท่ากับแผ่นใบ ทำให้เห็นใบเป็น 2 ตอน กว้าง 2.5-4 เซนติเมตร ยาว 4-7 เซ๋นติเมตร ใบสีเขียวแก่พื้นผิวใบเรียบเกลี้ยง เป็นมัน ค่อนข้างหนา มีกลิ่นหอมมากเพราะมีต่อมน้ำมันอยู่ ซึ่งผลแบบนี้เรียกว่า hesperitium (ผลแบบส้ม) ใบด้านบนสีเข้ม ใต้ใบสีอ่อน ดอกออกเป็นกระจุก 3 – 5 ดอก กลีบดอกสีขาว เกสรสีเหลือง ร่วงง่าย มีกลิ่นหอม มีผลสีเขียวเข้มคล้ายมะนาวผิวเปลือกนอกขรุขระ ขั้วหัวท้ายของผลเป็นจุก ผลอ่อนมีเป็นสีเขียวแก่ เมื่อผลสุกจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองสด พันธุ์ที่มีผลเล็ก ผิวจะขรุขระน้อยกว่าและไม่มีจุกที่ขั้ว ภายในมีเมล็ดจำนวนมากๆ
        โรคหนังศีรษะ คือ โรคของหนังศีรษะ ซึ่งเป็นขุยที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของผิวหนังและเกิดการหลุดลอกขึ้น พบมากในวัยรุ่น โดยเชื่อว่าเป็นผลจากฮอร์โมนแอนโดรเจนที่มีส่วนสำคัญ
ในการกระตุ้นการทำงานของต่อมไขมัน และเป็นสาเหตุของการเกิดรังแค ซึ่งจะมีอาการมากหรือน้อยขึ้นอยู่
กับแต่ละบุคคล และพบว่าถ้าไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้อง รังแคอาจรังควานคุณถึง 50 ปีก็ได้
           ประโยชน์ที่คลาดว่าจะได้รับจากโครการ
                   1.ทราบถึงประวัติความเป็นมาของมะกรูด
                    2.ทราบถึงอันตรายจากโรคหนังศีรษะ
                    3.ทราบถึงกรรมวิธีการทำแชมพูจากมะกรูด









บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าเรื่อง ประโยชน์ของ มะกรูด
มีหัวข้อและรายละเอียดดังนี้
    1.ประวัติความเป็นมาของมะกรูด
    2.การทำแชมพูจากมะกรูด
    3.อันตรายจากโรคหนังศีรษะ
               
















1.ประวัติความเป็นมาของมะกรูด 
         มะกรูด (อังกฤษ: Kaffir lime; เสียงอ่าน: /ˈkæfərˌlaɪm/) เป็นพืชในสกุลส้ม (Citrus) มีถิ่นกำเนิดในประเทศลาว อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นิยมใช้ใบมะกรูดและผิวมะกรูดเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องปรุงอาหารหลายชนิด นอกจากในประเทศไทยและลาวแล้ว ยังมีความนิยมในกัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย และอินโดนีเซีย (โดยเฉพาะบาหลี)
เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก เป็นไม้เนื้อแข็ง ลำต้นและกิ่งมีหนามยาวเล็กน้อย ใบเป็นใบประกอบชนิดลดรูป มีใบย่อย 1 ใบ เรียงสลับ รูปไข่ คือมีลักษณะคล้ายกับใบไม้ 2 ใบ ต่อกันอยู่ คอดกิ่วที่กลางใบเป็นตอนๆ มีก้านแผ่ออกใหญ่เท่ากับแผ่นใบ ทำให้เห็นใบเป็น 2 ตอน กว้าง 2.5-4 เซนติเมตร ยาว 4-7 เซ๋นติเมตร ใบสีเขียวแก่พื้นผิวใบเรียบเกลี้ยง เป็นมัน ค่อนข้างหนา มีกลิ่นหอมมากเพราะมีต่อมน้ำมันอยู่ ซึ่งผลแบบนี้เรียกว่า hesperitium (ผลแบบส้ม) ใบด้านบนสีเข้ม ใต้ใบสีอ่อน ดอกออกเป็นกระจุก 3 – 5 ดอก กลีบดอกสีขาว เกสรสีเหลือง ร่วงง่าย มีกลิ่นหอม มีผลสีเขียวเข้มคล้ายมะนาวผิวเปลือกนอกขรุขระ ขั้วหัวท้ายของผลเป็นจุก ผลอ่อนมีเป็นสีเขียวแก่ เมื่อผลสุกจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองสด พันธุ์ที่มีผลเล็ก ผิวจะขรุขระน้อยกว่าและไม่มีจุกที่ขั้ว ภายในมีเมล็ดจำนวนมากๆ
ประโยชน์ของมะกรูด
1.           มะกรูดมีสารต่อต้านอนุมูลอิสระสูง ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้ร่างกายแข็งแรงและต้านทานโรค
2.           ประโยชน์ของมะกรูดช่วยทำให้เจริญอาหาร
3.           น้ำมันหอมระเหยจากมะกรูดมีสรรพคุณช่วยผ่อนคลายความเครียด คลายความกังวล ทำให้จิตใจสงบนิ่ง ด้วยการสูดดมผิวมะกรูดหรือน้ำมันมะกรูดจะช่วยได้ระดับหนึ่ง แต่การใช้ไม่ควรจะใช้ความเข้มข้นมากกว่า 1% เพราะอาจจะทำให้เกิดการระคายเคืองได้
4.           ช่วยแก้อาการนอนไม่หลับ ด้วยการใช้ผิวมะกรูด รากชะเอม ไพล เฉียงพร้า ขมิ้นอ้อย ในปริมาณเท่ากัน นำมาบดเป็นผง นำมาชงละลายน้ำร้อนหรือต้มเป็นน้ำดื่ม
5.           สรรพคุณมะกรูดใช้เป็นยาบำรุงหัวใจ ด้วยการใช้ผิวมะกรูดสดฝานเป็นชิ้นเล็กๆ ประมาณ 1 ช้อนแกง เติมการบูรหรือพิมเสน 1 หยิบมือ ชงด้วยน้ำเดือด แช่ทิ้งไว้ แล้วนำน้ำที่ได้มาดื่ม 1-2 ครั้ง (เปลือกผล)
6.           ช่วยแก้ลม หน้ามืด วิงเวียนศีรษะ ด้วยการใช้เปลือกมะกรูดฝานบางๆ ชงกับน้ำเดือดใส่การบูรเล็กน้อย แล้วนำมารับประทานแก้อาการ (เปลือกผล)
7.           ช่วยแก้อาการไอ ขับเสมหะ ด้วยการใช้ผลมะกรูดนำมาผ่าซึกเติมเกลือ นำไปลนไฟให้เปลือกนิ่ม แล้วบีบน้ำมะกรูดลงในคอทีละน้อยๆ จะช่วยแก้อาการไอได้ สูตรนี้ก็สามารถใช้เป็นยาขับเสมหะได้ด้วยเช่นกัน
8.           สรรพคุณของใบมะกรูดสามารถใช้แก้อาเจียนเป็นเลือด แก้ช้ำในได้อีกด้วย
9.           ช่วยฟอกโลหิต ด้วยการนำผลมะกรูดสดมาผ่าเป็น 2 ซีกแล้วนำไปดองกับเกลือหรือน้ำผึ้งประมาณ 1 เดือน แล้วรินเอาแต่น้ำดื่ม จะช่วยฟอกโลหิตได้เป็นอย่างดี
10.  ใบมะกรูดสรรพคุณช่วยยับยั้งหรือชะลอการขยายตัวของเซลล์มะเร็ง ช่วยต่อต้านมะเร็งได้ เนื่องจากใบมะกรูดนั้นอุดมไปด้วยเบต้าแคโรทีน
11.  สรรพคุณของมะกรูดช่วยแก้เสมหะเป็นพิษ ด้วยการใช้ผิวมะกรูดสดฝานเป็นชิ้นเล็กๆ ประมาณ 1 ช้อนแกง เติมการบูรหรือพิมเสน 1 หยิบมือ ชงด้วยน้ำเดือด แช่ทิ้งไว้ แล้วนำน้ำที่ได้มาดื่ม 1-2 ครั้ง (เปลือกผล,ราก)
12.  น้ำมะกรูดใช้แก้อาการเลือดออกตามไรฟันได้ โดยหลังแปลงฟันเสร็จให้ใช้น้ำมะกรูดถูบางๆ บริเวณเหงือก
13.  ใช้ปรุงเป็นยาช่วยขับลมในลำไส้ แก้อาการจุกเสียด ท้องอืด แน่นท้อง ด้วยการใช้ผิวมะกรูดสดฝานเป็นชิ้นเล็กๆ ประมาณ 1 ช้อนแกง เติมการบูรหรือพิมเสน 1 หยิบมือ ชงด้วยน้ำเดือด แช่ทิ้งไว้ แล้วนำน้ำที่ได้มาดื่ม 1-2 ครั้ง (เปลือกผล)
14.  ช่วยแก้อาการปวดท้อง หรือใช้เป็นยาแก้ปวดท้องในเด็กอ่อน หรือการนำผลมะกรูดมาคว้านไส้กลางออก นำมหาหิงคุ์ใส่และปิดจุก แล้วนำไปเผาไฟจนดำเกรียมและบดจนเป็นผงละลายกับน้ำผึ้งไว้รับประทานแก้อาการปวดได้ หรือจะนำมาป้ายลิ้นเด็กอ่อน ใช้เป็นยาขับขี้เทาก็ได้เช่นกัน
15.  ช่วยขับระดู ขับลม ด้วยการใช้ผลมะกรูดนำมาดองทำเป็นยาดองเปรี้ยวไว้รับประทานแก้อาการ
16.  ช่วยกระทุ้งพิษ ช่วยรักษาฝีภายใน (ราก)
17.  มะกรูด สรรพคุณช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ได้เป็นอย่างดี
18.  น้ำมันมะกรูดมีฤทธิ์อ่อนๆ ช่วยยับยั้งการหดเกร็งของกล้ามเนื้อได้
19.  ใช้สระผมเพื่อทำความสะอาด ทำให้ผมดกเงางาม ป้องกันผมหงอก แก้ปัญหาผมร่วง ความเปรี้ยวของน้ำมะกรูดยังมีฤทธิ์เป็นกรดช่วยขจัดคราบแชมพู หรือชำระล้างสิ่งอุดตันต่างๆ ตามรูขุมขนบนหนังศีรษะ แล้วยังทำให้ผมหวีง่ายอีกด้วย ด้วยการผ่ามะกรูดเป็น 2 ชิ้น เมื่อสระผมเสร็จ ให้เอามะกรูดสระผมซ้ำ ด้วยการใช้มะกรูดยีให้ทั่วบนผม แล้วล้างออก จะช่วยทำความสะอาดผมได้
20.  ช่วยล้างสารเคมีในเส้นผม เนื่องจากในแต่ละวันเราต้องโดนทั้งฝุ่นระออง แสงแดด ยาสระผม ซึ่งเป็นสาเหตุที่อาจทำให้ผมแห้งกรอบได้ แม้จะใช้ครีมนวดผมหรือทรีทเม้นท์บำรุงและซ่อมแซมผมก็ตาม แต่สิ่งเหล่านี้ก็ยังส่วนผสมของสารเคมีอยู่ สำหรับวิธีการปกป้องเส้นผมและล้างสารเคมีก็ง่ายเพียงแค่ใช้น้ำมะกรูดมาชโลมบนผมที่เปียกชุ่ม แล้วหมักทิ้งไว้ประมาณ 10 นาทีแล้วล้างออกด้วยน้ำสะอาด แล้วล้างซ้ำอีกรอบด้วยน้ำเย็นจะทำให้ผมเงางามและมีน้ำหนักขึ้น และยังช่วยถนอมเส้นผมและบำรุงเส้นผมไปในตัวอีกด้วย
21.  ใช้รักษารังแคและชันนะตุ ด้วยการนำมะกรูดมาเผาไฟ นำมาผ่าเป็นซีกแล้วใช้สระผม จะช่วยรักษาอาชันนะตุได้
22.  ใช้ผสมเป็นน้ำอาบเพื่อทำความสะอาด ช่วยทำให้ผิวไม่แห้ง ด้วยการนำมะกรูดมาผ่าซึกลงในหม้อต้มเป็นน้ำอาบ
23.  มีอาหารบางชนิดที่นิยมใช้น้ำมะกรูดเป็นส่วนผสม
24.  ประโยชน์ของใบมะกรูด เนื่องจากน้ำมะกรูดมีน้ำมันหอมระเหยอยู่มาก มีกลิ่นฉุน สามารถนำไปใช้ไล่แมลงบางชนิดได้ เช่น มอดและมดในข้าวสาร ด้วยการใช้ใบมะกรูดสดๆ ประมาณ 4-5 ใบต่อข้าว 1 ถัง แล้วฉีกใบเป็น 2 ส่วน ให้กลิ่นออก แล้วใส่ลงในถังข้าวสาร เมื่อใบมะกรูดแห้งแล้วก็ให้เปลี่ยนใบใหม่ เพียงแค่นี้ก็จะไม่มีแมลงมอดมากวนใจท่านแล้วครับ
25.  มะกรูดสามารถใช้ในการไล่ยุงและกำจัดลูกน้ำได้ เมื่อทานหรือคั้นเอาน้ำแล้วก็อย่าทิ้งเปลือก ให้นำเปลือกมาตากแห้งและเผาไฟจะช่วยไล่ยุงได้ดีนัก (เปลือกผล)
26.  ในปัจจุบันมีการผลิตน้ำมันหอมระเหยในรูปแบบแคปซูลเพื่อใช้ไล่แมลงและหนอนสำหรับเกษตรกร ด้วยการใช้โปรยไว้ใต้ต้นไม้ที่ต้องการไล่แมลง แคปซูลก็จะค่อยๆปล่อยน้ำมันออกมา แถมยังไม่มีอันตรายอีกด้วย
27.  น้ำมันจากใบมะกรูดมีส่วนช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของเชื้อราบางชนิด เช่น ช่วยกระตุ้นการสร้างเส้นใยของราพวกมูเคอร์ แอสเปอร์จิลลัส อัลเทอร์นาเรีย และกระตุ้นการสร้างสปอร์ของแอสเปอร์จิลลัส
28.  ประโยชน์ใบมะกรูด ใบมะกรูดและน้ำมะกรูดสามารถใช้ดับกลิ่นคาวในอาหารได้
29.  ใช้ในการประกอบอาหารและแต่งกลิ่นคาวหวานของอาหาร เช่น ต้มยำ แกงเผ็ด ผัดเผ็ด ฉู่ฉี่ ห่อหมก ทอดมัน โรยหน้าข้าวเหนียวหน้ากุ้ง ฯลฯ
30.  น้ำมะกรูดสามารถใช้แทนน้ำมะนาว หรือใช้ร่วมกับมะนาวได้ จะได้รสเปรี้ยวและความหอมของน้ำมันหอมระเหยที่ผิวมะกรูดเพิ่มขึ้นไปด้วย
31.  มะกรูดยังใช้ในพระราชพิธีสำคัญ เช่น พระราชพิธีโสกันต์ ซึ่งระบุไว้ว่าจะต้องมีผลมะกรูดและใบส้มป่อยในการประกอบพิธี
32.  ยาฟอกเลือกสตรี ขับระดู ยาบำรุงประจำเดือน หรือยาแก้ผอมแห้งแรงน้อย มักจะมีมะกรูดอยู่ในตำรับยาเสมอ
33.  มีการนำเปลือกของมะกรูดมาใช้เป็นส่วนผสมในเครื่องสำอางบางชนิด อย่างเช่น สบู่ แชมพูมะกรูด หรือ ยาสระผมมะกรูด ผลิตภัณฑ์ป้องกันยุงและแมลง เป็นต้น
34.  หากถูกปลิงกัด ไม่ควรดึงออก เพราะจะทำให้แผลฉีกขาดและเลือดจะไหลไม่หยุด แต่วิธีที่ควรทำในเบื้องต้นให้ใช้น้ำมะกรูดมาราดใส่ตรงที่ถูกปลิงเกาะ ก็จะทำให้ปลิงหลุดออกมาเอง
35.  มะกรูดประโยชน์ช่วยแก้ปัญหากลิ่นเท้าเหม็น มีกลิ่นอับเชื้อรา ด้วยสูตรมะกรูด ขิง ข่า เกลือ อย่างละเท่าๆกัน นำมาต้มรอให้อุ่นสักนิดแล้วแช่เท้าทิ้งไว้ประมาณ 15 นาทีก็จะช่วยลดกลิ่นอับแถมยังคลายความปวดเมื่อยได้อีกด้วย
36.  ประโยชน์มะกรูดช่วยดูดกลิ่นในรองเท้าหรือตู้รองเท้า ด้วยการใช้ผิวมะกรูด ตะไคร้หอม ถ่านป่น และสารส้ม อย่างละ 1 ส่วน นำมาใส่ถุงที่ทำจากผ้าขาวบางหรือผ้าที่มีช่องระบายอากาศ แล้วนำไปใส่ไว้ในตู้รองเท้าหรือในรองเท้า จะช่วยดูดกลิ่นได้อย่างหมดจดเลยทีเดียว
37.  ช่วยทำความสะอาดครบตามซอกเท้า เพื่อลดความหมักหมมด้วยการใช้ สับปะรด 2 ส่วน / สะระแหน่ 1/2 ส่วน / น้ำมะกรูด 1/2 ส่วน / เกลือ 2 ส่วน นำมาปั่นรวมกันแล้วนำไปขัดเท้า
38.  การอบซาวนาสมุนไพร เพื่อขับสารพิษผ่านเหงื่อและรูขุมขน มักจะมีสมุนไพรที่ประกอบไปด้วย ขมิ้นอ้อย ขมิ้นชัน ไพล ตะไคร้ พิมเสน การบูร และผิวมะกรูดผสมอยู่ด้วย ซึ่งแต่ละตัวก็มีสรรพคุณในการช่วยขับสารพิษทั้งสิ้น

2.วิธีการทำแชมพูจากมะกรูด
   ขั้นตอนที่ 1
     -วิธีการหั่น ก่อนนำไปต้ม
    ขั้นตอนที่ 2
      -นำไปต้มในหม้อสแตนเลส มะกรูด 1 โล น้ำ 1 โล ต้มนาน ครึ่งชั่วโมง
      -จับเวลาหลังจากที่น้ำเดือดแล้ว
   ขั้นตอนที่ 3
     -เมื่อต้มประมาณ 1/2 ชั่วโมง (ใช้ไฟอ่อน)
     -สังเกตสีมะกรูด ที่ใช้ได้เนื้อใสๆ ก็พอ
     -ตั้งทิ้งไว้ 1 คืน 
   ขั้นตอนที่ 4
     -นำไปปั่นทั้งเนื้อและน้ำพร้อมกัน
     -ขั้นตอนที่ 5
     -ปั่นเสร็จแล้วนำมากรอง บรรจุขวดไว้ใช้ได้นาน สองเดือน ผมสลวยงาม
     -บรรจุขวดเก็บไว้ได้นาน 2 - 3 เดือน

3.โรคหนังศีรษะ 
 คือ โรคที่เกิดบริเวณศีรษะได้แก่
โรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis of the Scalp)
โรคสะเก็ดเงินเป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง ยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด อาจถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้ เกี่ยวข้องเรื่องภูมิแพ้ของร่างกาย มีการอักเสบเรื้อรังของผิวหนัง พบความผิดปกติได้ทั้งที่ผิวหนัง ศีรษะ เล็บและข้อ โดยจะพบผื่นนูนแดง ขอบเขตชัดเจน และมีขุยสีขาวเงิน มักจะพบผื่นบริเวณศีรษะ ข้อศอก เข่า ก้นกบ หน้าแข้ง ขนาดต่างๆกันถ้าเป็นมากอาจกระจายไปทั้งตัว อาจมีอาการข้อหรือลำไส้อักเสบร่วมด้วย 
โรคสะเก็ดเงินที่หนังศีรษะ รอยโรคจะค่อนข้างชัดเจน ผื่นนูนแดง ขอบเขตชัดเจน สเก็ดหนา และมีขุยสีขาวเงิน อาจรามลงมาถึงหน้าผาก คิ้ว ต้องแยกออกจากโรครังแคอักเสบ แต่ผมมักไม่ร่วง แต่ถ้าเป็นมาก รุนแรง           เรื้อรังก็เป็นสาเหตุทำให้ผมร่วงได้ 

รังแคอักเสบ (Seborrheic Dermatitis of the Scalp)
หนังศีรษะที่มันเป็นลักษณะหนึ่งที่พบในรังแคอักเสบ แต่ไม่ได้มีความผิดปกติในการสร้างไขมัน (Sebum) ยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด อาจถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้เช่นกัน มีบางอย่างคล้ายโรคโรคสเก็ดเงิน แพทย์บางท่านเชื่อว่าเชื้อรา ยีสต์เป็นสาเหตุของโรคนี้ หนังศีรษะที่มันเกินไปก็เป็นปัจจัยส่งเสริมที่สำคัญ พบมากในวัยเด็ก ผู้ใหญ่ ผู้ชายมากกว่าผู้หญิง ผู้ป่วยโรคเอดส์ เกี่ยวข้องเรื่องภูมิต้านทานของร่างกายที่แย่ลง 
โดยจะพบผื่นแดง ขอบชัด และมีขุยสีขาวมันที่เรียกว่ารังแค มีสะเก็ดสีเหลือง มักจะพบผื่นบริเวณหลังหู ไรผม คิ้ว จอน อาจพบบริเวณอื่นเช่น ร่องจมูกกับแก้ม หน้าอก
โรคพุ่มพวง (Lupus Erythematosus, LE, SLE)
ผมร่วงเป็นอาการที่พบบ่อยในผู้ป่วย SLE พบประมาณ50%ของผู้ป่วย แบ่งได้เป็นสองแบบ
1.           แบบมีแผลเป็น (Scarring Alopecia) พบบรืเวณกลางศีรษะ มีผื่นแล้วเกิดแผลเป็นตามมา ถ้ารักษาทันผมใหม่มีโอกาสขึ้นได้บ้าง แต่ถ้าแผลเป็นมาก ผมอาจไม่ขึ้น พบร้อยละ 5
2.           ไม่มีแผลเป็น (Non Scarring Alopecia) มีสองแบบ 
o    ผมร่วงทั่วๆไปทั้งศีรษะ (Telogen Effluvium) เกิดจากร่างกายเจ็บป่วยเรื้อรัง ไม่ร่วงหมดศีรษะ อาจทำให้ผมบางได้
o    Lupus Hair ผมบางและหักเป็นเส้นๆ เห็นชัดบริเวณด้านหน้าผมมีลักษณะแห้งหยาบไม่เงามันแบบผมปกติ มักพบตอนที่โรคกำเริบขึ้น
นอกจากนี้ยังพบรอยโรคที่ผิหนังบริเวณอื่นเช่น หลอดเลือดฝอยอักเสบขยายตัวเป็นตุ่มแดงตามตัว ผื่นคล้ายฝ้าที่โหนกแก้ม ผื่นอักเสบเรื้อรังเป็นผื่นแดงขอบชัดตรงกลางบาง มีสะเก็ดบนผิวผื่น

                        




                                                                                                   




บทที่ 3
วิธีการดำเนินการศึกษาค้นคว้า
          ในการึกษาค้นคว้าเรื่อง  ประโยชน์ของมะกรูดผู้ดำเนินการศึกษาค้นคว้าได้ดำเนินการ
มีขั้นตอนต่อไปนี้
1.กำหนดขอบเขตในการศึกษาค้นคว้า
ผู้ดำเนินการศึกษาได้กำหนดขอบเขตดังนี้
     1.1ขอบเขตด้านเนื้อหาได้แก่
 -ประวัติความเป็นมาของมะกรูด
 -การทำแชมพูจากมะกรูด
 -อันตรายจากโรคหนังศรีษะ
 -วิธีป้องกันอันตรายจากโรค
      1.2  ขอบเขตด้านประชนวนากรได้แก่
กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 จำนวน 32 คน
1.3  ขอบเขตด้านระยะเวลา
2. วิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้เรื่อง ประโยชน์ของมะกรูด เป็นแผ่นพับเพื่อเผยแพร่ให้กับกลุ่มตัวอย่างที่ได้กำหนดไว้
3.นำแผ่นพับที่วิเคราะห์ลังเคาะห์ไว้ไปให้ครูที่ปรึกษาตรวจสอบความถูกต้องด้านเนื้อหาและโครงงานหลังจากนั้นนำเอาข้อเสนอแนะ
มาปรับปรุงแก้ไขและพิมพ์เป็นฉบับจริงก่อนการเผยแพร่
4.ออกแบบสำรวจความคิดเห็นเรื่อง ประโยชน์ของมะกรูด โดยออกแบบเป็นแบบประเมิณค่าเป็นเห็นด้วยและไม่เห็นด้วยหลังนำแบบสำรวจไปให้ครูที่ปรึกษาตรวจสอบความถูต้องด้านเนื้อหา และ โครงสร้างหลังจากนั้นนำเอาข้อเสนอแนะมาปรับปรุงแก้ไขพิมพ์เป็นฉบับจริงแล้วนำไปสำรวจกับกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดิม
5.สรุปผลการสำรวจความคิดเห็น




บทที่ 4
สรุปการศึกษาค้นคว้า
               ในการศึกษาค้นคว้าและการทดลองเรื่องการทำแชมพูจากผลมะกรูด ผู้ศึกษาค้นคว้าได้กำหนดวัตถุประสงค์และสมมุติฐาน ไว้ดังนี้
 วัตถุประสงค์
         1.เพื่อศึกษาประโยชน์ของมะกรูด
          2.เพื่อศึกษาว่าผลมะกรูดสามารถทำแชมพูได้หรือไม่
          3. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับโรคหนังศีรษะ
    สมมุติฐาน
           - ผลมะกรูดมีกลิ่นหอมและสารเคมีที่สำคัญในมะกรูดคือน้ำหอมระเหยที่ช่วยทำให้สีผมดำเป็นธรรมชาติและทำให้เส้นผมมันวาว ดังนั้น ผลมะกรูดสามารถทำแชมพูได้จริง

    สรุปผลการศึกษาได้ดังนี้
1.ประโยชน์ของมะกรูด
1.           มะกรูดมีสารต่อต้านอนุมูลอิสระสูง ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้ร่างกายแข็งแรงและต้านทานโรค
2.           ประโยชน์ของมะกรูดช่วยทำให้เจริญอาหาร
3.           น้ำมันหอมระเหยจากมะกรูดมีสรรพคุณช่วยผ่อนคลายความเครียด คลายความกังวล ทำให้จิตใจสงบนิ่ง ด้วยการสูดดมผิวมะกรูดหรือน้ำมันมะกรูดจะช่วยได้ระดับหนึ่ง แต่การใช้ไม่ควรจะใช้ความเข้มข้นมากกว่า 1% เพราะอาจจะทำให้เกิดการระคายเคืองได้
4.           ช่วยแก้อาการนอนไม่หลับ ด้วยการใช้ผิวมะกรูด รากชะเอม ไพล เฉียงพร้า ขมิ้นอ้อย ในปริมาณเท่ากัน นำมาบดเป็นผง นำมาชงละลายน้ำร้อนหรือต้มเป็นน้ำดื่ม
5.           สรรพคุณมะกรูดใช้เป็นยาบำรุงหัวใจ ด้วยการใช้ผิวมะกรูดสดฝานเป็นชิ้นเล็กๆ ประมาณ 1 ช้อนแกง เติมการบูรหรือพิมเสน 1 หยิบมือ ชงด้วยน้ำเดือด แช่ทิ้งไว้ แล้วนำน้ำที่ได้มาดื่ม 1-2 ครั้ง (เปลือกผล)
6.           ช่วยแก้ลม หน้ามืด วิงเวียนศีรษะ ด้วยการใช้เปลือกมะกรูดฝานบางๆ ชงกับน้ำเดือดใส่การบูรเล็กน้อย แล้วนำมารับประทานแก้อาการ (เปลือกผล)
7.           ช่วยแก้อาการไอ ขับเสมหะ ด้วยการใช้ผลมะกรูดนำมาผ่าซึกเติมเกลือ นำไปลนไฟให้เปลือกนิ่ม แล้วบีบน้ำมะกรูดลงในคอทีละน้อยๆ จะช่วยแก้อาการไอได้ สูตรนี้ก็สามารถใช้เป็นยาขับเสมหะได้ด้วยเช่นกัน
8.           สรรพคุณของใบมะกรูดสามารถใช้แก้อาเจียนเป็นเลือด แก้ช้ำในได้อีกด้วย
9.           ช่วยฟอกโลหิต ด้วยการนำผลมะกรูดสดมาผ่าเป็น 2 ซีกแล้วนำไปดองกับเกลือหรือน้ำผึ้งประมาณ 1 เดือน แล้วรินเอาแต่น้ำดื่ม จะช่วยฟอกโลหิตได้เป็นอย่างดี
10.  ใบมะกรูดสรรพคุณช่วยยับยั้งหรือชะลอการขยายตัวของเซลล์มะเร็ง ช่วยต่อต้านมะเร็งได้ เนื่องจากใบมะกรูดนั้นอุดมไปด้วยเบต้าแคโรทีน
11.  สรรพคุณของมะกรูดช่วยแก้เสมหะเป็นพิษ ด้วยการใช้ผิวมะกรูดสดฝานเป็นชิ้นเล็กๆ ประมาณ 1 ช้อนแกง เติมการบูรหรือพิมเสน 1 หยิบมือ ชงด้วยน้ำเดือด แช่ทิ้งไว้ แล้วนำน้ำที่ได้มาดื่ม 1-2 ครั้ง (เปลือกผล,ราก)
12.  น้ำมะกรูดใช้แก้อาการเลือดออกตามไรฟันได้ โดยหลังแปลงฟันเสร็จให้ใช้น้ำมะกรูดถูบางๆ บริเวณเหงือก
13.  ใช้ปรุงเป็นยาช่วยขับลมในลำไส้ แก้อาการจุกเสียด ท้องอืด แน่นท้อง ด้วยการใช้ผิวมะกรูดสดฝานเป็นชิ้นเล็กๆ ประมาณ 1 ช้อนแกง เติมการบูรหรือพิมเสน 1 หยิบมือ ชงด้วยน้ำเดือด แช่ทิ้งไว้ แล้วนำน้ำที่ได้มาดื่ม 1-2 ครั้ง (เปลือกผล)
14.  ช่วยแก้อาการปวดท้อง หรือใช้เป็นยาแก้ปวดท้องในเด็กอ่อน หรือการนำผลมะกรูดมาคว้านไส้กลางออก นำมหาหิงคุ์ใส่และปิดจุก แล้วนำไปเผาไฟจนดำเกรียมและบดจนเป็นผงละลายกับน้ำผึ้งไว้รับประทานแก้อาการปวดได้ หรือจะนำมาป้ายลิ้นเด็กอ่อน ใช้เป็นยาขับขี้เทาก็ได้เช่นกัน
15.  ช่วยขับระดู ขับลม ด้วยการใช้ผลมะกรูดนำมาดองทำเป็นยาดองเปรี้ยวไว้รับประทานแก้อาการ
16.  ช่วยกระทุ้งพิษ ช่วยรักษาฝีภายใน (ราก)
17.  มะกรูด สรรพคุณช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ได้เป็นอย่างดี
18.  น้ำมันมะกรูดมีฤทธิ์อ่อนๆ ช่วยยับยั้งการหดเกร็งของกล้ามเนื้อได้
19.  ใช้สระผมเพื่อทำความสะอาด ทำให้ผมดกเงางาม ป้องกันผมหงอก แก้ปัญหาผมร่วง ความเปรี้ยวของน้ำมะกรูดยังมีฤทธิ์เป็นกรดช่วยขจัดคราบแชมพู หรือชำระล้างสิ่งอุดตันต่างๆ ตามรูขุมขนบนหนังศีรษะ แล้วยังทำให้ผมหวีง่ายอีกด้วย ด้วยการผ่ามะกรูดเป็น 2 ชิ้น เมื่อสระผมเสร็จ ให้เอามะกรูดสระผมซ้ำ ด้วยการใช้มะกรูดยีให้ทั่วบนผม แล้วล้างออก จะช่วยทำความสะอาดผมได้
20.  ช่วยล้างสารเคมีในเส้นผม เนื่องจากในแต่ละวันเราต้องโดนทั้งฝุ่นระออง แสงแดด ยาสระผม ซึ่งเป็นสาเหตุที่อาจทำให้ผมแห้งกรอบได้ แม้จะใช้ครีมนวดผมหรือทรีทเม้นท์บำรุงและซ่อมแซมผมก็ตาม แต่สิ่งเหล่านี้ก็ยังส่วนผสมของสารเคมีอยู่ สำหรับวิธีการปกป้องเส้นผมและล้างสารเคมีก็ง่ายเพียงแค่ใช้น้ำมะกรูดมาชโลมบนผมที่เปียกชุ่ม แล้วหมักทิ้งไว้ประมาณ 10 นาทีแล้วล้างออกด้วยน้ำสะอาด แล้วล้างซ้ำอีกรอบด้วยน้ำเย็นจะทำให้ผมเงางามและมีน้ำหนักขึ้น และยังช่วยถนอมเส้นผมและบำรุงเส้นผมไปในตัวอีกด้วย
21.  ใช้รักษารังแคและชันนะตุ ด้วยการนำมะกรูดมาเผาไฟ นำมาผ่าเป็นซีกแล้วใช้สระผม จะช่วยรักษาอาชันนะตุได้
22.  ใช้ผสมเป็นน้ำอาบเพื่อทำความสะอาด ช่วยทำให้ผิวไม่แห้ง ด้วยการนำมะกรูดมาผ่าซึกลงในหม้อต้มเป็นน้ำอาบ
23.  มีอาหารบางชนิดที่นิยมใช้น้ำมะกรูดเป็นส่วนผสม
24.  ประโยชน์ของใบมะกรูด เนื่องจากน้ำมะกรูดมีน้ำมันหอมระเหยอยู่มาก มีกลิ่นฉุน สามารถนำไปใช้ไล่แมลงบางชนิดได้ เช่น มอดและมดในข้าวสาร ด้วยการใช้ใบมะกรูดสดๆ ประมาณ 4-5 ใบต่อข้าว 1 ถัง แล้วฉีกใบเป็น 2 ส่วน ให้กลิ่นออก แล้วใส่ลงในถังข้าวสาร เมื่อใบมะกรูดแห้งแล้วก็ให้เปลี่ยนใบใหม่ เพียงแค่นี้ก็จะไม่มีแมลงมอดมากวนใจท่านแล้วครับ
25.  มะกรูดสามารถใช้ในการไล่ยุงและกำจัดลูกน้ำได้ เมื่อทานหรือคั้นเอาน้ำแล้วก็อย่าทิ้งเปลือก ให้นำเปลือกมาตากแห้งและเผาไฟจะช่วยไล่ยุงได้ดีนัก (เปลือกผล)
26.  ในปัจจุบันมีการผลิตน้ำมันหอมระเหยในรูปแบบแคปซูลเพื่อใช้ไล่แมลงและหนอนสำหรับเกษตรกร ด้วยการใช้โปรยไว้ใต้ต้นไม้ที่ต้องการไล่แมลง แคปซูลก็จะค่อยๆปล่อยน้ำมันออกมา แถมยังไม่มีอันตรายอีกด้วย
27.  น้ำมันจากใบมะกรูดมีส่วนช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของเชื้อราบางชนิด เช่น ช่วยกระตุ้นการสร้างเส้นใยของราพวกมูเคอร์ แอสเปอร์จิลลัส อัลเทอร์นาเรีย และกระตุ้นการสร้างสปอร์ของแอสเปอร์จิลลัส
28.  ประโยชน์ใบมะกรูด ใบมะกรูดและน้ำมะกรูดสามารถใช้ดับกลิ่นคาวในอาหารได้
29.  ใช้ในการประกอบอาหารและแต่งกลิ่นคาวหวานของอาหาร เช่น ต้มยำ แกงเผ็ด ผัดเผ็ด ฉู่ฉี่ ห่อหมก ทอดมัน โรยหน้าข้าวเหนียวหน้ากุ้ง ฯลฯ
30.  น้ำมะกรูดสามารถใช้แทนน้ำมะนาว หรือใช้ร่วมกับมะนาวได้ จะได้รสเปรี้ยวและความหอมของน้ำมันหอมระเหยที่ผิวมะกรูดเพิ่มขึ้นไปด้วย
31.  มะกรูดยังใช้ในพระราชพิธีสำคัญ เช่น พระราชพิธีโสกันต์ ซึ่งระบุไว้ว่าจะต้องมีผลมะกรูดและใบส้มป่อยในการประกอบพิธี
32.  ยาฟอกเลือกสตรี ขับระดู ยาบำรุงประจำเดือน หรือยาแก้ผอมแห้งแรงน้อย มักจะมีมะกรูดอยู่ในตำรับยาเสมอ
33.  มีการนำเปลือกของมะกรูดมาใช้เป็นส่วนผสมในเครื่องสำอางบางชนิด อย่างเช่น สบู่ แชมพูมะกรูด หรือ ยาสระผมมะกรูด ผลิตภัณฑ์ป้องกันยุงและแมลง เป็นต้น
34.  หากถูกปลิงกัด ไม่ควรดึงออก เพราะจะทำให้แผลฉีกขาดและเลือดจะไหลไม่หยุด แต่วิธีที่ควรทำในเบื้องต้นให้ใช้น้ำมะกรูดมาราดใส่ตรงที่ถูกปลิงเกาะ ก็จะทำให้ปลิงหลุดออกมาเอง
35.  มะกรูดประโยชน์ช่วยแก้ปัญหากลิ่นเท้าเหม็น มีกลิ่นอับเชื้อรา ด้วยสูตรมะกรูด ขิง ข่า เกลือ อย่างละเท่าๆกัน นำมาต้มรอให้อุ่นสักนิดแล้วแช่เท้าทิ้งไว้ประมาณ 15 นาทีก็จะช่วยลดกลิ่นอับแถมยังคลายความปวดเมื่อยได้อีกด้วย
36.  ประโยชน์มะกรูดช่วยดูดกลิ่นในรองเท้าหรือตู้รองเท้า ด้วยการใช้ผิวมะกรูด ตะไคร้หอม ถ่านป่น และสารส้ม อย่างละ 1 ส่วน นำมาใส่ถุงที่ทำจากผ้าขาวบางหรือผ้าที่มีช่องระบายอากาศ แล้วนำไปใส่ไว้ในตู้รองเท้าหรือในรองเท้า จะช่วยดูดกลิ่นได้อย่างหมดจดเลยทีเดียว
37.  ช่วยทำความสะอาดครบตามซอกเท้า เพื่อลดความหมักหมมด้วยการใช้ สับปะรด 2 ส่วน / สะระแหน่ 1/2 ส่วน / น้ำมะกรูด 1/2 ส่วน / เกลือ 2 ส่วน นำมาปั่นรวมกันแล้วนำไปขัดเท้า
38.  การอบซาวนาสมุนไพร เพื่อขับสารพิษผ่านเหงื่อและรูขุมขน มักจะมีสมุนไพรที่ประกอบไปด้วย ขมิ้นอ้อย ขมิ้นชัน ไพล ตะไคร้ พิมเสน การบูร และผิวมะกรูดผสมอยู่ด้วย ซึ่งแต่ละตัวก็มีสรรพคุณในการช่วยขับสารพิษทั้งสิ้น

2.การทำแชมพูจากผลมะกรูด
   ขั้นตอนที่ 1
     -วิธีการหั่น ก่อนนำไปต้ม
    ขั้นตอนที่ 2
      -นำไปต้มในหม้อสแตนเลส มะกรูด 1 โล น้ำ 1 โล ต้มนาน ครึ่งชั่วโมง
      -จับเวลาหลังจากที่น้ำเดือดแล้ว
   ขั้นตอนที่ 3
     -เมื่อต้มประมาณ 1/2 ชั่วโมง (ใช้ไฟอ่อน)
     -สังเกตสีมะกรูด ที่ใช้ได้เนื้อใสๆ ก็พอ
     -ตั้งทิ้งไว้ 1 คืน 
   ขั้นตอนที่ 4
     -นำไปปั่นทั้งเนื้อและน้ำพร้อมกัน
     -ขั้นตอนที่ 5
     -ปั่นเสร็จแล้วนำมากรอง บรรจุขวดไว้ใช้ได้นาน สองเดือน ผมสลวยงาม
     -บรรจุขวดเก็บไว้ได้นาน 2 - 3 เดือน

3.โรคหนังศีรษะ
 คือ โรคที่เกิดบริเวณศีรษะได้แก่
โรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis of the Scalp)
โรคสะเก็ดเงินเป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง ยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด อาจถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้ เกี่ยวข้องเรื่องภูมิแพ้ของร่างกาย มีการอักเสบเรื้อรังของผิวหนัง พบความผิดปกติได้ทั้งที่ผิวหนัง ศีรษะ เล็บและข้อ โดยจะพบผื่นนูนแดง ขอบเขตชัดเจน และมีขุยสีขาวเงิน มักจะพบผื่นบริเวณศีรษะ ข้อศอก เข่า ก้นกบ หน้าแข้ง ขนาดต่างๆกันถ้าเป็นมากอาจกระจายไปทั้งตัว อาจมีอาการข้อหรือลำไส้อักเสบร่วมด้วย 
โรคสะเก็ดเงินที่หนังศีรษะ รอยโรคจะค่อนข้างชัดเจน ผื่นนูนแดง ขอบเขตชัดเจน สเก็ดหนา และมีขุยสีขาวเงิน อาจรามลงมาถึงหน้าผาก คิ้ว ต้องแยกออกจากโรครังแคอักเสบ แต่ผมมักไม่ร่วง แต่ถ้าเป็นมาก รุนแรงเรื้อรังก็เป็นสาเหตุทำให้ผมร่วงได้
รังแคอักเสบ (Seborrheic Dermatitis of the Scalp)
หนังศีรษะที่มันเป็นลักษณะหนึ่งที่พบในรังแคอักเสบ แต่ไม่ได้มีความผิดปกติในการสร้างไขมัน (Sebum) ยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด อาจถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้เช่นกัน มีบางอย่างคล้ายโรคโรคสเก็ดเงิน แพทย์บางท่านเชื่อว่าเชื้อรา ยีสต์เป็นสาเหตุของโรคนี้ หนังศีรษะที่มันเกินไปก็เป็นปัจจัยส่งเสริมที่สำคัญ พบมากในวัยเด็ก ผู้ใหญ่ ผู้ชายมากกว่าผู้หญิง ผู้ป่วยโรคเอดส์ เกี่ยวข้องเรื่องภูมิต้านทานของร่างกายที่แย่ลง 
โดยจะพบผื่นแดง ขอบชัด และมีขุยสีขาวมันที่เรียกว่ารังแค มีสะเก็ดสีเหลือง มักจะพบผื่นบริเวณหลังหู ไรผม คิ้ว จอน อาจพบบริเวณอื่นเช่น ร่องจมูกกับแก้ม หน้าอก
โรคพุ่มพวง (Lupus Erythematosus, LE, SLE)
ผมร่วงเป็นอาการที่พบบ่อยในผู้ป่วย SLE พบประมาณ50%ของผู้ป่วย แบ่งได้เป็นสองแบบ
1.           แบบมีแผลเป็น (Scarring Alopecia) พบบรืเวณกลางศีรษะ มีผื่นแล้วเกิดแผลเป็นตามมา ถ้ารักษาทันผมใหม่มีโอกาสขึ้นได้บ้าง แต่ถ้าแผลเป็นมาก ผมอาจไม่ขึ้น พบร้อยละ 5
2.           ไม่มีแผลเป็น (Non Scarring Alopecia) มีสองแบบ 
o    ผมร่วงทั่วๆไปทั้งศีรษะ (Telogen Effluvium) เกิดจากร่างกายเจ็บป่วยเรื้อรัง ไม่ร่วงหมดศีรษะ อาจทำให้ผมบางได้
o    Lupus Hair ผมบางและหักเป็นเส้นๆ เห็นชัดบริเวณด้านหน้าผมมีลักษณะแห้งหยาบไม่เงามันแบบผมปกติ มักพบตอนที่โรคกำเริบขึ้น
นอกจากนี้ยังพบรอยโรคที่ผิหนังบริเวณอื่นเช่น หลอดเลือดฝอยอักเสบขยายตัวเป็นตุ่มแดงตามตัว ผื่นคล้ายฝ้าที่โหนกแก้ม ผื่นอักเสบเรื้อรังเป็นผื่นแดงขอบชัดตรงกลางบาง มีสะเก็ดบนผิวผื่น
                                                                                                                                       
                         








บทที่ 5
อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
           จากการศึกษาค้นคว้าเรื่อง การทำแชมพูจากผลมะกรู ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า ผลมะกรูด มีสารเคมีที่สามารถ ทำแชมพูที่ทำให้ผมดำเป็นธรรมชาติและมันวาวได้จริงและมีปริทธิภาพในการบรรเทาโรคหนังศีรษะได้จริง  เหตุที่เป็นเช่นนี้ เนื่องจากว่า
                      ผลมะกรูดมีสารระเหยน้ำหอม มีส่วนช่วยในการทำให้เส้นผมมีสีดำเป็นธรรมชาติและมันวาว
                
ข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้าต่อไป
                  1.ควรเผยแพร่ความรู้เร่องการทำแชมพูจากผลมะกรูดให้กับกลุ่มคนที่เป็นโรคหนังศีรษะและผู้ที่มีความสนใจที่อยากทำใช้ภายในครัวเรือน
                  2.ควรใช้รูปแบบทีหลากหลายในการเผยแพร่ เช่น จัดนิทัศการในโรงเรียน  หรือจัดทำเอกสารเพื่อเผยแพร่ข้อมูล
                  3.รณรงค์ให้ผู้คนหันมาใช้ วัตถุดิบจากธรรมชาติ ที่มีประสิทธิภาพดีเช่นนี้

                                                                                                                                  
















บรรณานุกรม

              นิทรรศ   อินวาง.แชมพูมะกรูดไร้สาร(2540) http://www.thaihof.org/main/article/detail/2446
มูลนิธิสุขภาพไทย 403 ซอย 7 ถ.เทศบาลนิมิตใต้ แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
โทร 0-2589-4243 Email: thaihof@yahoo.com
                      วิมล  สุนทรกุล. คู่มือพึ่งตนเอง 37 หลักสูตรเพื่อสุขภาพและความงาม
           และวารสารเกษตรกรรมธรรมชาติ ศูนย์สื่อเพื่อการพัฒนา. พิมพ์ครั้งที่1. : สำนักพิมพ์ สถาพร บุ๊ค.
           http://www.satapornbooks.co.th/Home/indexWeb/indexWeb.php
         


















                                                                                



















ภาคผนวก




-การทำการทำแชมพูจากมะกรูด  

ปลูกมะกรูด




เก็บมะกรูด



ขั้ตอนการทำแชมพูมะกรูด

1.หั่นมะกรูด

2.ต้มมะกรูด
3.นำไปปั่นแล้วนำมาใส่บรรจุภัณฑ์ เป็นอันเสร็จเรียบร้อย







ทอลองใช้แชมพูมะกรูด